About Rx PSU
หมายเลขโทรศัพท์ระบบ UC (Unified Communication)
Zoom Phone สำหรับส่วนงานคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โทร 074 28 ตามด้วยหมายเลขโทรศัพท์ 4 หลักของหน่วยงาน
หมายเลขโทรศัพท์ | หน่วยงาน |
8800 | คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ |
8801 | หน่วยธุรการและสารบรรณ |
8802 | หน่วยบริการทรัพยากรบุคคล |
8808 | งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ |
8810 | งานรักษาความปลอดภัย |
8819 | หน่วยนโยบายและพัฒนาองค์กร |
8823 | หน่วยบริการการศึกษา |
8824 | งานพัสดุ |
8827 | งานคลัง |
8830 | ศูนย์สมุนไพรทักษิณ |
8831 | ห้องประชุม 1302 |
8834 | หน่วยพัฒนานักศึกษา |
8841 | สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม |
8861 | สาขาวิชาเภสัชเคมี |
8871 | สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก |
8891 | สาขาวิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ |
8894 | หน่วยฝึกปฏิบัติงาน |
8895 | ห้องสมุดคณะเภสัชศาสตร์ |
8938 | สาขาวิชาเภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร |
8909 | หน่วยส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรม |
8911 | ศูนย์บริการปฏิบัติการทางเภสัชศาสตร์ |
8922 | งานซ่อมบำรุง |
8945 | ห้องประชุม 1105 |
8951 | หน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศ |
8962 | สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยาเภสัชฯ ม.อ.) |
8968 | สถานที่ผลิตสมุนไพรและเครื่องสำอาง |
8971 | ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศระบบนำส่งยา |
8977 | ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศยาสมุนไพร และเทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชกรรม |
8991 | ร้านโอสถศรีตรัง |
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เป็นชุดเป้าหมายการพัฒนาระดับโลกหลังปี 2015 ที่ได้รับการรับรองจาก 193 ประเทศสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 2015 ครอบคลุมช่วงระยะเวลาที่ต้องบรรลุภายใน 15 ปี ได้เป็นทิศทางการพัฒนาที่ทุกประเทศที่ต้องดำเนินการร่วมกันมาตั้งแต่ปีค.ศ. 2016 ไปจนถึงปี ค.ศ. 2030 โดยเอกสารที่ประเทศสมาชิกทั้งหมดลงนามรับรองเป็นพันธะสัญญานั้นเรียกว่า “Transforming Our World: the 2030 Agenda for Sustainable Development” หรือ “วาระการพัฒนาที่ยั่งยืน 2030” ฉะนั้นในบางโอกาส SDGs อาจถูกกล่าวถึงผ่านชื่ออื่นได้ทั้ง Agenda 2030 หรือ Global Goals
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) มีทั้งหมด 17 เป้าหมาย (Goals) ภายใต้หนึ่งเป้าหมายจะประกอบไปด้วยเป้าหมายย่อย ๆ ที่เรียกว่า เป้าหมายย่อย (Targets) ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 169 เป้าหมายย่อย และพัฒนา ตัวชี้วัด (Indicators) จำนวน 232 ตัวชี้วัด (ทั้งหมด 244 ตัวชี้วัดแต่มีตัวที่ซ้ำ 12 ตัว) เพื่อติดตามความก้าวหน้าของเป้าหมายย่อยดังกล่าว
เป้าหมายทั้ง 17 เป้าหมายประกอบด้วย
- เป้าหมายที่ 1: ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่
- เป้าหมายที่ 2: ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน
- เป้าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันการมีสุขภาวะที่ดี และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกช่วงวัย
- เป้าหมายที่ 4: สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
- เป้าหมายที่ 5: บรรลุความเสมอภาคระหว่างเพศ และเพิ่มบทบาทของสตรีและเด็กหญิงทุกคน
- เป้าหมายที่ 6: สร้างหลักประกันเรื่องน้ำและการสุขาภิบาล ให้มีการจัดการอย่างยั่งยืนและมีสภาพพร้อมใช้ สำหรับทุกคน
- เป้าหมายที่ 7: สร้างหลักประกันว่าทุกคนเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ในราคาที่สามารถซื้อหาได้ เชื่อถือได้ และยั่งยืน
- เป้าหมายที่ 8: ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุม และยั่งยืน การจ้างงานเต็มที่และ มีผลิตภาพ และการมีงานที่มีคุณค่าสำหรับทุกคน
- เป้าหมายที่ 9: สร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ครอบคลุมและยั่งยืน และส่งเสริมนวัตกรรม
- เป้าหมายที่ 10: ลดความไม่เสมอภาคภายในและระหว่างประเทศ
- เป้าหมายที่ 11 : ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ มีความครอบคลุม ปลอดภัย ยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง และยั่งยืน
- เป้าหมายที่ 12: สร้างหลักประกันให้มีแบบแผนการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน
- เป้าหมายที่ 13: ปฏิบัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น
- เป้าหมายที่ 14: อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเลและทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- เป้าหมายที่ 15: ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน จัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ต่อสู้การกลายสภาพเป็นทะเลทราย หยุดการเสื่อมโทรมของที่ดินและฟื้นสภาพกลับมาใหม่ และหยุดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
- เป้าหมายที่ 16: ส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรม และสร้างสถาบันที่มีประสิทธิผล รับผิดชอบ และครอบคลุมในทุกระดับ
- เป้าหมายที่ 17: เสริมความเข้มแข็งให้แก่กลไกการดำเนินงานและฟื้นฟูสภาพหุ้นส่วนความร่วมมือระดับโลกสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน
การมีส่วนร่วมผลักดันการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
![]() |
Good Health & Well-being การดำเนินการตามเป้าหมายที่ 3: การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2. คณะเภสัชศาสตร์ มีการให้บริการวิชาการให้กับชุมชนในท้องถิ่น |
![]() |
Quality Education การดำเนินการตามเป้าหมายที่ 4: การศึกษาที่เท่าเทียม ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1. คณะเภสัชศาสตร์ ดำเนินกิจกรรมเผยแพร่ความรู้นอกวิทยาเขต ในโรงเรียน ในท้องถิ่น ในชุมชน |
![]() |
Partnerships For The Goals การดำเนินการตามเป้าหมายที่ 17: ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชบำบัด
![]() |
|
ชื่อย่อปริญญาภาษาไทย : ป.บัณฑิตชั้นสูงทางเภสัชศาสตร์ (เภสัชบำบัด) ชื่อย่อปริญญาภาษาอังกฤษ : Higer Grad. Dip. In Pharm. (Pharmacotherapy) |
|
คู่มือหลักสูตร |
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
![]() |
![]() |
หลักสูตร : เภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม
ชื่อปริญญา : เภสัชศาสตรบัณฑิต (การบริบาลทางเภสัชกรรม) อักษรย่อปริญญา (ภาษาไทย) : ภ.บ. (การบริบาลทางเภสัชกรรม) อักษรย่อปริญญา (English) : Pharm.D. (Pharmaceutical Care) |
หลักสูตร : เภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ ชื่อปริญญา : เภสัชศาสตรบัณฑิต (เภสัชกรรมอุตสาหการ) อักษรย่อปริญญา (ภาษาไทย) : ภ.บ. (เภสัชกรรมอุตสาหการ) อักษรย่อปริญญา (English) : Pharm.D. (Industrial Pharmacy) |
คู่มือหลักสูตร | คู่มือหลักสูตร |
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร | ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร |
หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต
![]() |
|
ชื่อย่อปริญญาภาษาไทย : หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก ชื่อย่อปริญญาภาษาอังกฤษ : Master of Pharmacy Program in Clinical Pharmacy |
|
คู่มือหลักสูตร |